1.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. มหาวิทยาลัยมหิดล
3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5. มหาวิทยาลัยศิลปากร
6. มหาวิทยาลัยนเรศวร
7. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
8. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
9. มหาวิทยาลัยหัวเฉียว
10.มหาวิยาลัยบูรพา
วันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
+ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ +
ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ หรือ สนามบินสุวรรณภูมิ (ชื่อเดิม: สนามบินหนองงูเห่า) เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ ถนนบางนา-ตราด ในตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เปิดใช้งานวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยใช้งานแทนท่าอากาศยานดอนเมือง นโยบายรัฐบาลได้กำหนดท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ และจะเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
จากข้อมูลการจัดอันดับล่าสุดของเว็บไซต์ "สมาร์ตทราเวลดอตคอม" ที่มีการสำรวจความเห็นของผู้เดินทางทั่วโลกเปิดเผยว่า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิของไทยนั้นได้รับการจัดอันดับให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมอันดับที่ 4 ของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ของมาเลเซีย
จากข้อมูลการจัดอันดับล่าสุดของเว็บไซต์ "สมาร์ตทราเวลดอตคอม" ที่มีการสำรวจความเห็นของผู้เดินทางทั่วโลกเปิดเผยว่า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิของไทยนั้นได้รับการจัดอันดับให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมอันดับที่ 4 ของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ของมาเลเซีย
ชื่อของสนามบินสุวรรณภูมิ มีความหมายว่า "แผ่นดินทอง" เป็นชื่อพระราชทานโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2543 และเสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2545
ชื่อสากลของสนามบินสะกดตามการถ่ายตัวสะกดภาษาสันสกฤต ว่า "Suvarnabhumi" แทนการเขียนทับศัพท์ตามระบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งสะกดว่า "Suwannaphum"
ชื่อสากลของสนามบินสะกดตามการถ่ายตัวสะกดภาษาสันสกฤต ว่า "Suvarnabhumi" แทนการเขียนทับศัพท์ตามระบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งสะกดว่า "Suwannaphum"
การก่อสร้าง
แบบแปลนโครงสร้างของท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ
สถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร คือ เฮลมุต ยาห์นชาวอเมริกัน-เยอรมัน และบริษัทเมอร์ฟี/ยาห์นสำนักงานใหญ่ที่ชิคาโก ซึ่งแบบอาคารสนามบินได้ถูกปรับเปลี่ยน ขนาดอาคาร และวัสดุจากแบบเดิมไปในหลายส่วน เช่น เพิ่มการประดับยักษ์ และสถาปัตยกรรมไทยเพิ่มเข้าไปโดยสถาปนิกชาวไทย
แบบแปลนโครงสร้างของท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ
สถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร คือ เฮลมุต ยาห์นชาวอเมริกัน-เยอรมัน และบริษัทเมอร์ฟี/ยาห์นสำนักงานใหญ่ที่ชิคาโก ซึ่งแบบอาคารสนามบินได้ถูกปรับเปลี่ยน ขนาดอาคาร และวัสดุจากแบบเดิมไปในหลายส่วน เช่น เพิ่มการประดับยักษ์ และสถาปัตยกรรมไทยเพิ่มเข้าไปโดยสถาปนิกชาวไทย
วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
วันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
+ ไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 H1N1 +
ไข้หวัดหมู Swine Flu
ชื่อใหม่เป็นทางการ ไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 H1N1
ประเทศไทยเรียกไข้หวัดหมูว่า “ไข้หวัดเม็กซิโก” เนื่องจากไม่ต้องการให้คนกลัวไม่รับประทานเนื้อหมู และต่อมาก็เปลี่ยนเป็น “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 H1N1” เมื่อวันที่ 2 พ. ค. 2552
เหตุผลที่ประเทศไทยไม่ใช้ชื่อ “ไข้หวัดหมู” Swine Flu ตั้งแต่แรกเนื่องจากกลัวประชาชนจะแตกตื่นเลิกกินเนื้อหมู
เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552 องค์การอนามัยโลก WHO ก็ประกาศให้เปลี่ยนชื่อ SWINE FLU เป็น H1N1 FLU
สำหรับหลักเกณฑ์องค์การอนามัยโลกเรียกเหตุการโรคระบาด แบ่งเป็น 6 ระดับนับตั้งแต่เบาสุดไปถึงรุนแรงระบาดไปทั่วโลก ดังนี้ครับ
ระดับ 1 ยังไม่มีรายงานจากสัตว์สู่คน
ระดับ 2 มีการติดเชื้อในหมู่สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่าตามธรรมชาติซึ่งมีโอกาสติดมนุษย์ได้
ระดับ 3 พบการระบาดจากสัตว์สู่มนุษย์ในวงเล็กๆ เช่นที่เม็กซิโกในช่วงแรก และมีการติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ในบางกรณี เช่นติดได้ง่ายในผู้ที่ไม่แข็งแรงหรือไม่ได้ป้องกันตัวดีพอ
ระดับ 4 พบการติดเชื้อจากมนุษย์สู่มนุษย์ในวงกว้างขึ้น เช่นเดียวกับในขณะนี้ที่ลานไปถึงยุโรปและเอซียบางประเทศ เนื่องจารการเดินทางโดยเครื่องบินพาให้เชื้อไปได้เร็วขึ้น
ระดับ 5 มีการติดเชื้อจากมนุษย์สู่มนุษย์อย่างน้อยในสองประเทศในหนึ่งเขตที่องค์การอนามัยโลกดูแลอยู่ ซึ่งถ้าถูกจัดให้อยู่ในระดับ 5 นี้เมื่อใดให้เตรียมแผนรับมือการระบาดใหญ่ได้ให้ดี
ระดับ 6 ขั้นระบาดรุนแรงคือมีการติดเชื่อลามไปตามประเทศต่างๆ ในเขตดูแลอื่นขององค์การอนามัยโลกอีก อาจเรียกได้ว่าเป็นขั้นระบาดระดับโลก
สัญญาณร้านไข้หวัดสายพันธืใหม่ 2009 H1N1
1. มีไข้สูงลอยไม่ทราบสาเหตุ กินยาแล้วไม่หาย
2. ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
3. มีน้ำมูก ไอรุนแรงจตถึงขั้นหอบ
4. มีประวัติสัมผัสกับผู้ที่เป็นโรคหรือผู้ที่มาจากประเทศเม็กซิโก
5. เป็นคนเลี้ยงหมู ขายหมูหรือมีนิวาสสถานอยู่ใกล้กับลานเลี้ยงหมู
ชื่อใหม่เป็นทางการ ไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 H1N1
ประเทศไทยเรียกไข้หวัดหมูว่า “ไข้หวัดเม็กซิโก” เนื่องจากไม่ต้องการให้คนกลัวไม่รับประทานเนื้อหมู และต่อมาก็เปลี่ยนเป็น “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 H1N1” เมื่อวันที่ 2 พ. ค. 2552
เหตุผลที่ประเทศไทยไม่ใช้ชื่อ “ไข้หวัดหมู” Swine Flu ตั้งแต่แรกเนื่องจากกลัวประชาชนจะแตกตื่นเลิกกินเนื้อหมู
เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552 องค์การอนามัยโลก WHO ก็ประกาศให้เปลี่ยนชื่อ SWINE FLU เป็น H1N1 FLU
สำหรับหลักเกณฑ์องค์การอนามัยโลกเรียกเหตุการโรคระบาด แบ่งเป็น 6 ระดับนับตั้งแต่เบาสุดไปถึงรุนแรงระบาดไปทั่วโลก ดังนี้ครับ
ระดับ 1 ยังไม่มีรายงานจากสัตว์สู่คน
ระดับ 2 มีการติดเชื้อในหมู่สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่าตามธรรมชาติซึ่งมีโอกาสติดมนุษย์ได้
ระดับ 3 พบการระบาดจากสัตว์สู่มนุษย์ในวงเล็กๆ เช่นที่เม็กซิโกในช่วงแรก และมีการติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ในบางกรณี เช่นติดได้ง่ายในผู้ที่ไม่แข็งแรงหรือไม่ได้ป้องกันตัวดีพอ
ระดับ 4 พบการติดเชื้อจากมนุษย์สู่มนุษย์ในวงกว้างขึ้น เช่นเดียวกับในขณะนี้ที่ลานไปถึงยุโรปและเอซียบางประเทศ เนื่องจารการเดินทางโดยเครื่องบินพาให้เชื้อไปได้เร็วขึ้น
ระดับ 5 มีการติดเชื้อจากมนุษย์สู่มนุษย์อย่างน้อยในสองประเทศในหนึ่งเขตที่องค์การอนามัยโลกดูแลอยู่ ซึ่งถ้าถูกจัดให้อยู่ในระดับ 5 นี้เมื่อใดให้เตรียมแผนรับมือการระบาดใหญ่ได้ให้ดี
ระดับ 6 ขั้นระบาดรุนแรงคือมีการติดเชื่อลามไปตามประเทศต่างๆ ในเขตดูแลอื่นขององค์การอนามัยโลกอีก อาจเรียกได้ว่าเป็นขั้นระบาดระดับโลก
สัญญาณร้านไข้หวัดสายพันธืใหม่ 2009 H1N1
1. มีไข้สูงลอยไม่ทราบสาเหตุ กินยาแล้วไม่หาย
2. ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
3. มีน้ำมูก ไอรุนแรงจตถึงขั้นหอบ
4. มีประวัติสัมผัสกับผู้ที่เป็นโรคหรือผู้ที่มาจากประเทศเม็กซิโก
5. เป็นคนเลี้ยงหมู ขายหมูหรือมีนิวาสสถานอยู่ใกล้กับลานเลี้ยงหมู
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)